ยุทธศาสตร์การพัฒนาของเทศบาลตำบลแม่แรม
วิสัยทัศน์
เทศบาลตำบลแม่แรม ได้กำหนดวิสัยทัศน์ (Vision) เพื่อเป็นสภาพการณ์ในอุดมคติซึ่งเป็นจุดหมายและปรารถนา คาดหวังที่จะให้เกิดขึ้นหรือบรรลุผลในอนาคตข้างหน้า ดังนี้
“ชุมชนท่องเที่ยวเชิงเกษตร วัฒนธรรมเข้มแข็งและยั่งยืน โดยองค์กรที่มีประสิทธิภาพ”
ยุทธศาสตร์เทศบาลตำบลแม่แรม ประกอบด้วย 7 ยุทธศาสตร์ดังนี้
1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน สาธารณูปโภค และแหล่งน้ำ
3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการป้องกัน บรรเทาสาธารณภัยและการรักษาความเรียบร้อยในชุมชน
4. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
5. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต การศึกษา ส่งเสริมเศรษฐกิจ และการท่องเที่ยว
6. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น
7. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี
ยุทธศาสตร์ 1 : การพัฒนาระบบสุขภาพชุมชน
เป้าประสงค์ | ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ | กลยุทธ์ | แนวทางการพัฒนา |
1.1.1 ร้อยละของระดับความตระหนักรู้ด้านสุขภาวะ (Health Literacy) การปรับตัวของชุมชนด้วยพฤติกรรมที่ถูกสุขลักษณะ 1.1.2 ร้อยละของผู้สูงวัย คนพิการและผู้ด้อยโอกาส มีสุขภาพแข็งแรงและมีการเพิ่มทักษะเพื่อการพึ่งพาตนเองได้ทั้งทางกายภาพและทางจิตใจ 1.1.3 ระดับประสิทธิภาพของระบบปฏิบัติการดูแลผู้สูงวัย คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส 1.1.4 ร้อยละของผู้เข้ารับการอบรมผู้สัมผัสอาหารในตลาดชุมชนและร้านอาหารข้างถนนที่ถูกสุขลักษณะตามเกณฑ์มาตรฐานกรมอนามัย 1.1.5 ประชาชนมีโอกาสในการเข้าถึงระบบสุขภาพที่มีคุณภาพเพิ่มขึ้นและปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพลดลง | 1.1การสร้างความรอบรู้ด้านสุขภาวะและการป้องกันและควบคุมปัจจัยเสี่ยงที่คุกคามสุขภาวะชุมชน | 1.1.1 พัฒนาความตระหนักรู้ ขีดความสามารถในการจัดการสุขภาพตนเองของชุมชนอย่างเข้มแข็งด้านสุขภาวะ (Health Literacy) ให้พึ่งพาตนเองได้ 1.1.2 ส่งเสริมการปรับตัวของชุมชนด้านพฤติกรรมการบริโภคที่ถูกสุขลักษณะและ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 1.1.3 เพิ่มประสิทธิภาพของหน่วยงานและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) ในการดูแลผู้สูงวัย คนพิการและผู้ด้อยโอกาสอย่างครบวงจรให้มีสุขภาพแข็งแรงและเพิ่มทักษะการพึ่งพาตนเองได้ 1.1.4 อบรมผู้สัมผัสอาหารในตลาดชุมชนและร้านอาหารข้างถนน เพื่อลดปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพ | |
1.2 การสร้างสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีสุขภาวะที่ดี (Smart city) และแผนเผชิญเหตุในภาวะปกติและไม่ปกติ | 1.2.1 ร้อยละของงบประมาณค่าอุปกรณ์และระบบส่งต่อทางการแพทย์ฉุกเฉิน (EMS) และเวชศาสตร์ป้องกัน 1.2.2 ร้อยละของการฝึกอบรมเสริมสมรรถนะอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) 1.2.3 ร้อยละความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการฝึกอบรมเสริมสมรรถนะอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) | 1.2 การพัฒนาและสร้างระบบรับมือและปรับตัวต่อการระบาดของโรคติดเชื้ออุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ | 1.2.1 สำรวจและพัฒนาสมรรถนะหน่วยงานบุคลากรและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.)ให้ตระหนักรู้สุขภาวะที่ดี (Smart city) 1.2.2 เสริมสมรรถนะของหน่วยงานและอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน(อสม.) พร้อมเผชิญเหตุด้านสุขภาวะในภาวะปกติและไม่ปกติของการระบาดของโรคติดเชื้ออุบัติใหม่ |
เป้าประสงค์ | ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ | กลยุทธ์ | แนวทางการพัฒนา |
1.3.1 ร้อยละของผู้เข้ารับการฝึกอบรมจากชุมชนเรื่องหมอพื้นบ้านและแพทย์แผนไทย/แพทย์ทางเลือกชุมชน 1.3.2 ร้อยละความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อกิจกรรมส่งเสริมการผลิตและใช้สมุนไพรเชิงเวชศาสตร์ป้องกันของชุมชนอย่างมีส่วนร่วม | 1.3 ส่งเสริมระบบการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือกและเวชศาสตร์ป้องกันของชุมชนอย่างมีส่วนร่วม | 1.3.1 ส่งเสริมให้ความรู้ความเข้าใจแก่ชุมชนเรื่องระบบการแพทย์แผนไทยและแพทย์ทางเลือก 1.3.2 ฝึกอบรมกลุ่มประชาชนต้นแบบด้านการนวดแผนไทย ระบบส่งต่อทางการแพทย์ฉุกเฉิน (EMS) และเวชศาสตร์ป้องกันในชุมชน 1.3.3 ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านสมุนไพรด้วยภูมิปัญญาและเทคโนโลยีที่เหมาะสม ทั้งการผลิตต้นน้ำ แปรรูปกลางน้ำและการตลาดปลายน้ำในท้องถิ่นและ Online |
ยุทธศาสตร์ 2 : การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน สาธารณูปโภค และแหล่งน้ำ
เป้าประสงค์ | ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ | กลยุทธ์ | แนวทางการพัฒนา |
2.1.1 ร้อยละต่อพื้นที่ของการพัฒนาระบบการคมนาคมและ ระบบขนส่งสาธารณะที่ได้มาตรฐานเชื่อมโยงโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนเชียงใหม่ 2.1.2 ร้อยละของการพัฒนาระบบการคมนาคมและระบบขนส่งสาธารณะที่ได้มาตรฐานครบวงจรภายในและระหว่างชุมชน (เช่น เส้นทางนำผลผลิตจากสวนเกษตร ไร่นาเชื่อมถนนสายหลักในชุมชน) 2.1.3 ร้อยละของความพึงพอใจของชุมชนต่อการคมนาคมการขนส่งสินค้า | 2.1 พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานการคมนาคมและระบบขนส่งสาธารณะที่ได้มาตรฐานครบวงจรภายในและระหว่างชุมชนเชื่อมโยงโครงข่ายระบบขนส่งมวลชนเชียงใหม่ | 2.1.1 สำรวจและพัฒนาระดับตำบลและการเชื่อมโยงข้ามตำบลและอำเภอเพื่อปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานสาธารณูปโภค สาธารณูปการการคมนาคมและขนส่งพัฒนาเส้นทางสู่แหล่งพื้นที่การเกษตรและการท่องเที่ยว 2.1.2 สำรวจและพัฒนาเส้นทางขนส่งสินค้าการเกษตรระหว่างสวนเกษตร ให้มีทางออกเชื่อมกับถนนสายหลักในและระหว่างชุมชนที่ได้มาตรฐานครบวงจร | |
2.2.1 คุณภาพด้านสุขาภิบาลแหล่งน้ำ ทางระบายน้ำ ระบบน้ำอุปโภคบริโภคน้ำตามเกณฑ์มาตรฐานสิ่งแวดล้อม | 2.2 พัฒนาสุขาภิบาลแหล่งน้ำทางระบายน้ำ เส้นทางและระบบน้ำเสริมการผลิตพื้นที่ทางการเกษตร | 2.2.1 สำรวจและพัฒนาเพิ่มคุณภาพสุขาภิบาลและแหล่งน้ำ ทางระบายน้ำ ระบบน้ำอุปโภคและสนับสนุนพื้นที่ทางการเกษตร 2.2.2 พัฒนาระบบสาธารณูปโภค ระบบชลประทานและแหล่งน้ำเพื่ออุปโภค | |
2.2.2 ร้อยละความพึงพอใจของชุมชนต่อคุณภาพระบบน้ำประปา | 2.3 พัฒนาระบบน้ำประปาชุมชนให้ได้มาตรฐานทั่วถึง | 2.3.1 สร้างระบบน้ำประปาบริการให้ทั่วถึงชุมชนตามหลักอนามัย | |
2.3.1 ร้อยละของความพึงพอใจของชุมชนต่อผลการพัฒนาและการใช้ประโยชน์สื่อสารดิจิทัลสาธารณะและอินเทอร์เน็ตชุมชน | 2.4 พัฒนาบริการสื่อสารดิจิทัลสาธารณะ(PublicDigital Logistics)ชุมชนด้วยเทคโนโลยีทันสมัย | 2.4.1 จัดตั้งศูนย์บริการระบบการสื่อสารดิจิทัลสาธารณะประจำชุมชนด้วยอินเทอร์เน็ตชุมชนเพื่อเร่งรัดการเติบโตทางเศรษฐกิจ การตลาดและการจัดการความรู้ (Digital Logistics) | |
2.3.2 สัดส่วนพื้นที่ของชุมชนที่ได้รับบริการสื่อสารดิจิทัลสาธารณะ (Public Digital Logistics) | 2.4.2 ประสานงานกับการสื่อสารแห่งประเทศไทยและบริษัทที่ให้การสื่อสารดิจิทัลครอบคลุมพื้นที่ของชุมชนในอัตราราคาพิเศษที่สามารถลดหย่อนภาษี |
เป้าประสงค์ | ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ | กลยุทธ์ | แนวทางการพัฒนา |
2.4 จัดการให้มีระบบขนส่งมวลชนบริการกลุ่มนักเรียนและประชาชนอย่างมีส่วนร่วม | 2.4.1 อัตราความคับคั่งของการจราจรในพื้นที่ชุมชนเขตเมืองลดลง 2.4.2 อัตราอุบัติเหตุทางการจราจรในพื้นที่ชุมชนเขตเมืองลดลง 2.4.3 ร้อยละของความพึงพอใจของชุมชนต่อระบบขนส่งมวลชนบริการกลุ่มนักเรียนและประชาชน | 2.5 จัดการระบบขนส่งมวลชน สำหรับกลุ่มนักเรียนและประชาชนอย่างมีส่วนร่วม | 2.5.1 จัดการระบบขนส่งมวลชน สำหรับกลุ่มนักเรียนและประชาชนอย่างมีส่วนร่วม 2.5.2 เทศบาลนคร และเทศบาลในเขตเมือง จัดระบบขนส่งมวลชนสาธารณะแก่นักเรียนในชุมชน (เริ่มทดลองช่วงชั่วโมงเร่งด่วนก่อน เพื่อลดความคับคั่งทางจราจร อุบัติเหตุและการใช้น้ำมันเชื้อเพลิง) |
ยุทธศาสตร์ 3 : การป้องกัน บรรเทาสาธารณภัยและการรักษาความเรียบร้อยในชุมชน
เป้าประสงค์ | ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ | กลยุทธ์ | แนวทางการพัฒนา |
3.1.1 ร้อยละของความพึงพอใจของชุมชนต่อระบบการรักษาความเรียบร้อยปลอดภัยบรรเทาสาธารณภัย อย่างมีส่วนร่วม 3.1.2 จัดตั้งหน่วยอาสาสมัครบรรเทาสาธารณภัยขึ้นในระดับตำบลและชุมชน 3.1.3 ร้อยละของความพึงพอใจของชุมชนต่อผลการฝึกอบรมเพิ่มสมรรถนะอาสาสมัครบรรเทาสาธารณภัย | 3.1 พัฒนาระบบป้องกันและรักษาความปลอดภัยอย่างมีส่วนร่วมทั้งด้านสาธารณภัย อุบัติภัยทางธรรมชาติและจากพฤติกรรมมนุษย์ | 3.1.1 ร่วมมือกับกรมบรรเทาสาธารณภัย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องพัฒนาสมรรถนะอาสาสมัครชุมชนบรรเทาสาธารณภัย อุบัติภัยทางธรรมชาติและจากพฤติกรรมมนุษย์ 3.1.2 จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์และเครื่องมือที่ทันสมัยอย่างเหมาะสมเพื่อเตรียมความพร้อมทั้งการเผชิญเหตุด้านบรรเทาสาธารณภัยทั้งในภาวะปกติและฉุกเฉิน เช่นอุปกรณ์การบินไร้คนขับขนาดเล็ก (Drone) เพื่อการค้นหา ติดตาม ตรวจสอบและทำระบบ Mapping ด้านอื่นๆ | |
3.2 ชุมชนมีส่วนร่วมกับทางราชการในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดการรักษาความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินในชุมชน | 3.2.1 ร้อยละของความพึงพอใจของชุมชนที่มีส่วนร่วมกับทางราชการในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดการรักษาความปลอดภัย | 3.2 ส่งเสริมการพัฒนาสมรรถนะหน่วยและสมาชิกอาสาสมัครบรรเทาสาธารณภัยระดับตำบลละชุมชน | 3.2.1 การฝึกอบรมเพิ่มสมรรถนะอาสาสมัครบรรเทาสาธารณภัย |
3.2.2 ร้อยละของความพึงพอใจของชุมชนที่มีต่อผลการอบรมด้านภัยพิบัติ ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด การรักษาความปลอดภัยในชุมชน | 3.3 ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดการรักษาความปลอดภัยต่อชีวิตและทรัพย์สินในชุมชน | 3.2.2 อบรมชุมชนสร้างความความตระหนักรู้ด้านภัยพิบัติ ป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด การรักษาความปลอดภัยในชุมชน | |
3.2.3 ระดับความพร้อมและทันสมัยที่มีประสิทธิภาพแผนเผชิญเหตุและจัดการภัยพิบัติท้องถิ่นจากหน่วยตรวจสอบความเสี่ยง | 3.4 แผนเผชิญเหตุและจัดการภัยพิบัติท้องถิ่นระดับตำบลและชุมชน | 3.2.3 พัฒนาแผนเผชิญเหตุและจัดการภัยพิบัติท้องถิ่นในภาวะป้องกันความเสี่ยงในระหว่างเกิดเหตุและการเยียวยาหลังเกิดเหต |
ยุทธศาสตร์ 4 : การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เป้าประสงค์ | ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ | กลยุทธ์ | แนวทางการพัฒนา |
4.1 สร้างความตระหนักรู้ความเข้าใจในอนุรักษ์การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืน | 4.1.1 ร้อยละของสมาชิกชุมชนระดับหัวหน้าครัวเรือนตระหนักในด้านมลภาวะทางอากาศและน้ำจากทางระบายน้ำ 4.1.2 พื้นที่ปลูกป่าในที่ดินสาธารณะและพืชเศรษฐกิจตามหัวไร่ปลายนามีสัดส่วนเพิ่มขึ้น | 4.1 การอนุรักษ์และฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม | 4.1.1 การอบรม และจัดการความรู้เพื่อสร้างความตระหนักรู้ถึงคุณค่าทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4.1.2 ส่งเสริมและติดตามผลการปลูกป่าในพื้นที่สาธารณะที่ว่างเปล่า และปลูกต้นไม้กับพืชเศรษฐกิจตามหัวไร่ปลายนา |
4.2 สร้างตระหนักรู้และป้องกันในการจัดการมลภาวะสิ่งแวดล้อมด้านอากาศ (PM 2.5) | 4.2.1 คุณภาพของอากาศมีค่ามาตรฐานต่ำกว่าเกณฑ์ PM 2.5 | 4.2 จัดการเชิงป้องกันและแก้ไขมลภาวะทางอากาศและน้ำจากทางระบายน้ำให้ได้เกณฑ์มาตรฐาน | 4.2.1 พัฒนาศักยภาพเกษตรกรผู้นํารุนใหม่ ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนและสถาบันเกษตรกรด้านเกษตรอินทรีย์เพื่อลดการเผาไหม้และประหยัดค่าใช้จ่ายชุมชนในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม |
(ZeroWaste Management) | 4.3.1 ร้อยละของครัวเรือนมีการจัดการคัดแยกขยะด้วยหลักการ ZeroWaste Managementและระบบการจัดการขยะอย่างยั่งยืน | 4.3 จัดการขยะด้วยหลักการ Zero Waste Management อย่างยั่งยืนและผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย (Polluter PayingPrinciple – PPP) | 4.3.1 ส่งเสริมชุมชนปลอดขยะ (Zero Waste Management) ใช้หลักการผู้ก่อมลพิษเป็นผู้จ่าย (Polluter Paying Principle – PPP) |
4.4 ส่งเสริมการสร้างสวนสาธารณะนิเวศชุมชนและการใช้พื้นที่ว่างเปล่าให้เกิดประโยชน์เชิงสาธารณะ | 4.4.1 ร้อยละของครัวเรือนในชุมชนมีความพึงพอใจต่อสวนสาธารณะและการใช้พื้นที่ว่างเปล่าให้เป็นประโยชน์เชิงสาธารณะ | 4.4 สนับสนุนการขยายและฟื้นฟูพื้นที่ป่าชุมชนและสวนสาธารณะนิเวศชุมชนอย่างมีส่วนร่วม | 4.4.1 เพิ่มสวนสาธารณะนิเวศชุมชนอย่างน้อยตำบลละ 1 แห่งต่อปีงบประมาณ 4.4.2 จัดระเบียบพื้นที่รกร้างว่างเปล่าในชุมชน ด้วยมาตรการทางสังคมอย่างมีส่วนร่วมในการใช้พื้นที่ว่างเปล่าให้เป็นประโยชน์เชิงสาธารณะ |
ยุทธศาสตร์ 5 : การพัฒนาคุณภาพชีวิต การศึกษา ส่งเสริมเศรษฐกิจ และการท่องเที่ยว
เป้าประสงค์ | ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ | กลยุทธ์ | แนวทางการพัฒนา |
5.1.1 ร้อยละของผู้ผ่านการอบรมการเกษตรและอาหารปลอดภัยตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและประยุกต์กับดิจิทัลเทคโนโลยี 5.1.2 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อส่งเสริมการเกษตรและอาหารปลอดภัยตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 5.1.3 ร้อยละของเกษตรกรและวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่รับการส่งเสริมจัดการการเกษตรเชิง Smart Farming เพื่อเพิ่มเศรษฐกิจมูลค่าสูงที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและควบคุมกลไกการตลาดได้ | 5.1 การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและภูมิปัญญาด้านการเกษตรในการผลิต แปรรูปและการตลาด | 5.1.1 ฝึกอบรมเกษตรกร สมาชิกวิสาหกิจชุมชนด้านการเกษตรและอาหารปลอดภัยด้วยเทคโนโลยีทันสมัยบูรณาการกับภูมิปัญญาทั้งต้นน้ำ กลางน้ำและปลายน้ำด้วยเกษตรอินทรีย์ 5.1.2 ส่งเสริมการแก้ไขปัญหาด้านคุณภาพ การผลิตการบรรจุหีบห่อ การตลาดและการขนส่งด้วยระบบดิจิทัลของเกษตรกรอย่างครบวงจร 5.1.3 จัดการการเกษตรเชิง Smart Farming เพื่อเพิ่มเศรษฐกิจมูลค่าสูงที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม (High Value-added Economy) โดยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตและสร้างมูลค่าเพิ่มให้สินค้าเกษตรด้วยเทคโนโลยีและควบคุมกลไกการตลาดได้ | |
5.2 เสริมสร้างมูลค่าเพิ่มด้านเศรษฐกิจฐานราก สินค้า OTOP และ SMEs ในและนอกภาคเกษตรของชุมชน | 5.2.1 อัตราการใช้สิ่งอำนวยความสะดวกเทคโนโลยีและนวัตกรรมที่เหมาะสมในการยกระดับการผลิตทั้งต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ 5.2.2 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของประชาชนต่อส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากและวิสาหกิจชุมชน 5.2.3 อัตราการเพิ่มขึ้นของกลุ่มเกษตรกรที่นำเทคโนโลยีเกษตรอัจฉริยะมาปรับใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพผลผลิต แปรรูปและการตลาด | 5.2 เสริมสร้างความเข้มแข็งเศรษฐกิจฐานรากสินค้า OTOP และ SMEs | 5.2.1 ส่งเสริมการเพิ่มทักษะความเป็นผู้ประกอบการท้องถิ่น ผู้ประกอบการสมัยใหม่ วิสาหกิจชุมชน เพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจฐานราก สินค้า OTOP และ SMEs ในและนอกภาคเกษตรของชุมชนครบวงจร 5.2.2 ส่งเสริมการจัดตั้งและอบรมสมาชิกวิสาหกิจชุมชนยกระดับการผลิตทั้งต้นน้ำ กลางน้ำและปลายน้ำด้วยการตลาดที่ทันสมัยและการเงินแบบดิจิทัล 5.2.3 อบรมและสนับสนุนให้เกษตรกรนำเทคโนโลยีเกษตรอัจฉริยะมาปรับใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพผลผลิตแปรรูปและการตลาด |
เป้าประสงค์ | ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ | กลยุทธ์ | แนวทางการพัฒนา |
5.3.1 ร้อยละของรายได้จากการท่องเที่ยวชุมชนและจังหวัด เพิ่มขึ้น 5.3.2 อัตราการใช้ Applications เพื่อกระตุ้นการจัดการความรู้และการตลาดการท่องเที่ยวชุมชน 5.3.3 ร้อยละความพึงพอใจของชุมชนต่อคุณภาพแหล่งการท่องเที่ยวชุมชน | 5.3 ส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนเชิงอนุรักษ์ที่เน้นคุณค่าและความยั่งยืนเชิงสุขภาพการแพทย์และการท่องเที่ยวชุมชน (Community-based Tourism – CBT) ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเพื่อการกระจายรายได้ | 5.3.1 ส่งเสริมให้มีแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพการแพทย์ เชิงนิเวศและศิลปวัฒนธรรม และการท่องเที่ยวประเภทอื่นที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมเพื่อการกระจายรายได้และพัฒนาการคมนาคมให้สามารถเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยวได้สะดวก 5.3.2 อบรมพัฒนาศักยภาพชุมชนจากแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพการแพทย์ เชิงนิเวศและศิลปวัฒนธรรมให้เป็นศักยภาพการรองรับ(Carrying Capacity & 5As) ที่มีคุณภาพ | |
5.4 เพิ่มโอกาสการเข้าถึงข้อมูลแหล่งท่องเที่ยวชุมชนอย่างดึงดูดใจ | 5.4.1 ร้อยละของนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศเข้าถึงข้อมูลเพื่อตัดสินใจและเพิ่มความสนใจ 5.4.2 ร้อยละความพึงพอใจของประชาชนนักท่องเที่ยวต่อความเข้าใจด้านเมืองเก่าเชียงใหม่และแหล่งท่องเที่ยวชุมชน | 5.4 ส่งเสริมและพัฒนาทักษะการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมดิจิทัลเพื่อการเข้าใจ เข้าถึงและพัฒนาการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจ | 5.4.1 พัฒนาสื่อผ่านระบบดิจิทัลเพื่อสร้างความตระหนักรู้แก่ประชาชน นักท่องเที่ยวด้านเมืองเก่าเชียงใหม่ และการเตรียมความพร้อมเข้าสู่มรดกโลก 5.4.2 พัฒนาสื่อผ่านระบบดิจิทัลเพื่อสร้างความตระหนักรู้แก่ประชาชน นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างประเทศเพื่อดึงดูดความสนใจและเข้าถึงข้อมูลเพื่อตัดสินใจ |
5.5.1 ร้อยละความเข้าใจและพึงพอใจของประชาชนและบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีต่อแนวคิดและแนวปฏิบัติผลิตภัณฑ์ท่องเที่ยวแนวใหม่ (New Normal Tourism Product) 5.5.2 ร้อยละความเข้าใจและพึงพอใจของประชาชนต่อการใช้ประโยชน์พืชเศรษฐกิจเสริมรายได้อย่างยั่งยืน | 5.5 สร้างมิติการท่องเที่ยวเชิงนิเวศชุมชนเป็นผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวแนวใหม่ (New Normal Tourism Product)สมัยใหม่แบบครบวงจร | 5.5.1 ฝึกอบรมชุมชนและบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เพื่อปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ (Paradigm Shift) ให้เกิด มิติความเชื่อมโยงการท่องเที่ยว ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมินิเวศและอาชีพเป็นผลิตภัณฑ์ท่องเที่ยวแนวใหม่ (New Normal Tourism Product) เพื่อสร้างรายได้ตามแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 5.5.2 พัฒนาผลผลิตการท่องเที่ยวชุมชน (Community-based Tourism Product) กับพืชเศรษฐกิจด้วยระบบการผลิต การแปรรูปการตลาด การจัดการหลังการเก็บเกี่ยวอย่างมีคุณภาพพร้อมกับการอนุรักษ์ภูมินิเวศเพื่อดึงดูดความสนใจเพื่อเพิ่มมูลค่าการกระจายรายได้ชุมชน |
เป้าประสงค์ | ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ | กลยุทธ์ | แนวทางการพัฒนา |
5.6 การจัดการศึกษาตลอดชีวิต (Lifelong Education) | 5.6.1 ร้อยละของงบประมาณการศึกษาส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพของประชาชนทุกระดับทุกเพศทุกวัยให้พร้อมรับต่อการปรับตัวเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงของโลก 5.6.2 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้ใช้ประโยชน์จากแหล่งเรียนรู้ออนไลน์ | 5.6 ส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพของประชาชนด้านความรู้และทักษะอาชีพเพื่อปรับตัวเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงของโลกด้วยการศึกษาตลอดชีวิต | 5.6.1 ส่งเสริมและร่วมมือกับหน่วยงานเครือข่ายจัดการศึกษาตลอดชีวิตสำหรับผู้ใหญ่นอกระบบโรงเรียนวัยแรงงานที่อายุ 15 ปีขึ้นไป |
5.7.1 ร้อยละของงบประมาณเพิ่มขึ้นของการดูแลผู้สูงวัย คนพิการหรือ ผู้ด้อยโอกาสทางกาย ทางจิตและสังคม 5.7.2 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้ใช้ประโยชน์จากศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอัจฉริยะและศูนย์การเรียนรู้และดูแลผู้สูงวัย คนพิการหรือผู้ด้อยโอกาสทางกาย จิตและสังคม | 5.7 ส่งเสริมการจัดตั้งศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอัจฉริยะและศูนย์การเรียนรู้และดูแลผู้สูงวัย คนพิการหรือผู้ด้อยโอกาสทางกาย ทางจิตและสังคม | 5.7.1 จัดตั้งและดำเนินการศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอัจฉริยะ ศูนย์การเรียนรู้และดูแลผู้สูงวัย (The Elderly Day Care Center) กับผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสทางกาย ทางจิตและสังคม เพื่อเสริมทักษะการปรับตัวรับการเปลี่ยนแปลงของโลก 5.7.2 จัดอบรมผู้ดูแลและจัดหาวัสดุ อุปกรณ์ที่มีคุณภาพสำหรับศูนย์พัฒนาเด็กเล็กอัจฉริยะ ศูนย์การเรียนรู้และดูแลผู้สูงวัย (The Elderly Day Care Center) กับผู้พิการฯ | |
5.8.1 ร้อยละของงบประมาณการศึกษาภาคบังคับในสังกัดองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น 5.8.2 ร้อยละของระดับการรับรองคุณภาพจากกระทรวงศึกษาธิการ สำหรับโรงเรียนในสังกัดองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น 5.8.3 ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้ประโยชน์จากการศึกษาภาคบังคับในสังกัดองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น | 5.8 จัดการศึกษาภาคบังคับในสังกัดองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวงศึกษาธิการ | 5.8.1 พัฒนาสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในสังกัดองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นอย่างมีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานของกระทรวงศึกษาธิการ 5.8.2 พัฒนาสมรรถนะของผู้บริหารและคณะครูบุคลากรทุกระดับทุกด้านให้สามารถจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนมีความรู้ความสามารถและทักษะแห่งการพึ่งพาตนเองและปรับตัวพร้อมต่อการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ของโลกได้ |
ยุทธศาสตร์ 6 : ด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น
เป้าประสงค์ | ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ | กลยุทธ์ | แนวทางการพัฒนา |
6.1 พัฒนาองค์ความรู้ของสถาบันทางศาสนา ศิลปวัฒนธรรมประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นอย่างเป็นรูปธรรม | 6.1.1 ระดับความถี่ต่อปีในการส่งเสริมการศาสนาอนุรักษ์และเผยแพร่ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญา 6.1.2 จำนวนและประเภทฐานข้อมูลองค์ความรู้ทางศาสนา ศิลปวัฒนธรรมประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น 6.1.3 จำนวนและประเภทสื่อเสมือนจริง (Virtual และ Online) ขององค์ความรู้ทางศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีและภูมิปัญญาท้องถิ่น 6.1.4 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านต่อคุณภาพและการเข้าถึงฐานข้อมูลและสร้างสื่อเสมือนจริง(Virtual และ Online) เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ทางศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น | 6.1 อนุรักษ์สถาบันทางศาสนาศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ยึดโยงคนท้องถิ่นอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติ | 6.1.1 สร้างแหล่งแลกเปลี่ยนเรียนรู้ความหลากหลายด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ทำให้คนท้องถิ่นอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติ 6.1.2 พัฒนาฐานข้อมูล และสร้างสื่อเสมือนจริง (Virtual และ Online) เพื่อถ่ายทอดองค์ความรู้ทางศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น 6.1.3 ฝึกอบรมให้ความรู้ สร้างการมีส่วนร่วมและสร้างจิตสำนึกในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่น |
6.2.1 มีการบูรณาการการอนุรักษ์และเผยแพร่ศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นและโบราณสถานเข้ากับการส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน 6.2.2 มีการศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดการท่องเที่ยว สังคม-มานุษยวิทยาฯ | 6.2 บูรณาการการอนุรักษ์และเผยแพร่ศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นและโบราณสถาน เข้ากับการส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน | 6.2.1 บูรณาการส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนทั้งเชิงนิเวศ ศิลปวัฒนธรรม สังคม-มานุษยวิทยา และภูมิปัญญา โบราณสถาน การอนุรักษ์และเผยแพร่ศาสนา ศิลปวัฒนธรรมภูมิปัญญาท้องถิ่นเชิงประวัติศาสตร์และการผจญภัยอย่างปลอดภัย (Soft Adventure Tourism) 6.2.2 ศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดการท่องเที่ยว สังคมมานุษยวิทยา (Socio-Anthropological based Tourism) และเชิงประวัติศาสตร์และการผจญภัยอย่างปลอดภัยในชุมชน |
เป้าประสงค์ | ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ | กลยุทธ์ | แนวทางการพัฒนา |
6.3.1 มีการวิเคราะห์จัดทำแผนงานและโครงการสัมพันธ์กับแผนแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าเชียงใหม่จัดการความรู้เชิงอนุรักษ์และพัฒนาการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าเชียงใหม่ 6.3.2 ร้อยละของระดับความพึงพอใจต่อสื่อ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการเตรียมความพร้อมเข้าสู่มรดกโลกของเชียงใหม่ 6.3.3 จำนวนสื่อ Online และ Applications ให้นักเรียน นักศึกษาประชาชนและนักท่องเที่ยวเข้าถึงและรับรู้ด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น 6.3.4 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้ใช้สื่อในและนอกระบบโรงเรียนนักท่องเที่ยวต่อสื่อด้านศาสนาศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น | 6.3 จัดทำแผนงานและโครงการสัมพันธ์กับแผนแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าเชียงใหม | 6.3.1 ศึกษาวิเคราะห์จัดทำแผนงานและโครงการสัมพันธ์กับแผนแม่บทการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่าเชียงใหม่รวมทั้งการจัดการความรู้ที่เกี่ยวข้อง 6.3.2 สร้างสื่อหลากหลายเพื่อเสริมความตระหนักรู้แก่ประชาชนในและนอกโรงเรียน นักท่องเที่ยวในเนื้อหาความแท้และดั้งเดิม เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้และการเตรียมความพร้อมเข้าสู่มรดกโลก 6.3.3 จัดทำสื่อเผยแพร่แบบ Online สั้นๆ และ Applications อย่างต่อเนื่องเพื่อสร้างความตระหนักรู้แก่ประชาชนในและนอกระบบโรงเรียน นักท่องเที่ยวในเนื้อหาเกี่ยวกับศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น |
ยุทธศาสตร์ 7 : การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี
เป้าประสงค์ | ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ | กลยุทธ์ | แนวทางการพัฒนา |
7.1.1 ร้อยละของกิจกรรมที่ประชาชนร่วมในการแสดงความจงรักภักดี 7.1.2 ร้อยละของผู้ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง 7.1.3 ร้อยละของกิจกรรมหรือสื่อสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนในกิจกรรมพัฒนาและลดความขัดแย้ง | 7.1 เสริมสร้างจิตสำนึกของประชาชนในสถาบันหลักของชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข | 7.1.1 ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการแสดงความจงรักภักดีต่อสถาบันหลักของชาติ และการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข 7.1.2 สร้างสื่อ Online และ Offline ในการเผยแพร่พระราชกรณียกิจในพื้นที่ และรู้จักสิทธิหน้าที่พลเมืองที่ดีระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพระประมุข | |
7.2 พัฒนาสมรรถนะบุคคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีประสิทธิภาพ จิตบริการ | 7.2.1 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 7.2.2 อัตราการทำงานอย่างมีสมรรถภาพที่ดีของบุคลากรรายบุคคล รายฝ่าย/แผนก/งานของทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 7.2.3 ร้อยละของการนำผลการติดตามประเมินผลและรายงานไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุง 7.2.4 ร้อยละของระดับความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่อคุณภาพชีวิตการตระหนักรู้และรักษาวินัยในการปฏิบัติงาน | 7.2 พัฒนาและประเมินสมรรถนะหลักและสมรรถนะของบุคลากรองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น | 7.2.1 ประเมินสมรรถนะหลักและสมรรถนะของบุคลากรองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นแบบ 360 องศาเพื่อกำหนดแนวทางพัฒนาบุคลากรรายบุคคล รายฝ่าย/แผนก/งานของทั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 7.2.2 ฝึกอบรมและจัดการความรู้ทั้งภายในและภายนอกองค์กร เพื่อพัฒนาสมรรถนะบุคคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นให้มีประสิทธิภาพจิตบริการ คุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาล 7.2.3 ทบทวนและนำผลการติดตามประเมินผลและรายงานไปใช้ประโยชน์ในการปรับปรุงแผนงานโครงการและการปฏิบัติงาน 7.2.4 จัดโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมคุณภาพชีวิตของบุคคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเพื่อสร้างขวัญและกำลังใจในการตระหนักรู้และรักษาวินัยในการปฏิบัติตามค่านิยมหลักของบุคคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น |
เป้าประสงค์ | ตัวชี้วัดเป้าประสงค์ | กลยุทธ์ | แนวทางการพัฒนา |
7.3.1 ระบบการฐานข้อมูลกลางการพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นปัจจุบันและครอบคลุม 7.3.2 มีระบบฐานข้อมูลร่วมเชื่อมโยงระหว่างองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่และองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นเชียงใหม่ 7.3.3 มีศูนย์ประสานงานกลางรวบรวมแผนยุทธศาสตร์ฐานข้อมูลร่วมขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นเชียงใหม่ทุกแห่งให้เป็นฐานข้อมูลและระบบ Big Data พร้อมต่อการตรวจสอบรายงานและการใช้งานที่ถูกต้องด้วยข้อมูลคงเส้นคงวา | 7.3 ปรับปรุงการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยและเหมาะสมมาใช้กับระบบการติดตามประเมินผล ตรวจสอบและรายงานผลที่ถูกต้องชัดเจน | 7.3.1 พัฒนาระบบการฐานข้อมูลกลางการพัฒนาท้องถิ่นขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นด้วยการนำเทคโนโลยีที่ทันสมัยและเหมาะสมมาใช้กับระบบการติดตาม ประเมินผล ตรวจสอบและรายงานผลที่ถูกต้องชัดเจนรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน 7.3.2 จัดตั้งศูนย์ประสานงานกลางรวบรวมแผนยุทธศาสตร์ขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่นเชียงใหม่ทุกแห่งให้เป็นฐานข้อมูลและระบบ Big Data พร้อมต่อการตรวจสอบ รายงานและการใช้งานที่ถูกต้องด้วยข้อมูลคงเส้นคงวา 7.3.3 พัฒนาฐานข้อมูลร่วมเชื่อมโยงระหว่างองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่และองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นเชียงใหม่ โดยอาศัยองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่เป็นหน่วยประสานงานและศูนย์กลาง |
จุดยืนทางยุทธศาสตร์